ฟังก์ชั่น (Functions) เป็นความสัมพันธ์ ชนิดหนึ่ง ที่มีสมาชิกตัวหน้า หรือ พิกัดของแกน X ไม่ซ้ำกัน | |
จากความสัมพันธ์ช้างต้น เราเห็นได้ทันทีว่าสมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำ ดังนั้น จากความสัมพันธ์ช้างต้น เราเห็นได้ทันทีว่าสมาชิกตัวหน้าซ้ำกัน ดังนั้น | |
ในกรณีที่ ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเงื่อนไขเราไม่สามารถมองเห็น สมาชิกได้ เราสามารถวาดรูปเพื่อการพิจารณาว่าเป็นฟังก์ชั่นหรือไม่ สามารถวาดกราฟของฟังก์ชั่นได้ดังนี้ ฟังก์ชั่นกำลังสอง | |
เราสามารถ ตรวจสอบการเป็นฟังก์ชั่น ได้โดยการลากเส้น ขนานกับแกน Y - ถ้าตัดกราฟ หนึ่งจุด เป็นฟังก์ชัั่น - ถ้าตัดกราฟ มากกว่า หนึ่งจุด ไม่เป็นฟังก์ชัั่น | |
ดังนั้น จากสมการ เมื่อเราทำการลากเส้นขนานแกน Y เราจะได้ | |
ในทำนองเดียวกัน เมื่อเราพิจารณา วาดกราฟได้ดังนี้ เมื่อนำต้องการดูว่า เป็นฟังก์ชั่นหรือไม่ ทำการลากเส้นขนานแกน Y เราจะได้ จากภาพ ลากเส้นขนานแกน Y แล้วได้จุดตัด มากกว่า 1 จุด ดังนั้น สมการ | |
ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญลักษณ์ กรณีืี่ความสัมพันธ์ r เป็นฟังก์ชั่น เราจะเขียน y = f(x) แทน และเรียก f(x) ว่าเป็นค่า ของฟังก์ชั่น f ที่ x อ่านว่า เอฟที่ เอ็กซ์ หรือ เอฟเอ็กซ์ | |
เรามาดูตัวอย่างของสมการ และกราฟของสมการ ที่เป็นฟังก์ชั่น เพราะมีสมาชิก ตัวหน้า คือพิกัด x ไม่ซ้ำกัน และเมื่อเราลากเส้น ขนานแกน Y ได้จุดตัดกราฟเพียงจุดเดียว 1. ฟังก์ชั่นกำลังสอง | |
2. ฟังก์ชั่นรากที่สอง | |
3. ฟังก์ชั่นกำลังสาม | |
4. ฟังก์ชั่นส่วนกลับ | |
5. ฟังก์ชั่นส่วนกลับกำลังสอง | |
6. ฟังก์ชั่นส่วนกลับกำลังสอง | |
7. ฟังก์ชั่นค่าสัมบูรณ์ | |
ต่อไปเรามาดู ตัวอย่างของฟังก์ชั่น | |
ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ เป็นฟังก์ชั่น จาก X ไป Y หา | |
วิธีทำ เราสามารถหาค่าของฟังก์ชั่นได้ดังต่อไปนี้ จาก | |
ตัวอย่างที่ 2 f(0) , f(5) , f(-2) , f(t) , f( x + 1) , f(t) + 1 , f(x+h) , | |
วิธีทำ เราสามารถหาค่าของฟังก์ชั่นได้ดังต่อไปนี้ จาก |
ฟังก์ชั่น (Functions) เป็นความสัมพันธ์ ชนิดหนึ่ง ที่มีสมาชิกตัวหน้า หรือ พิกัดของแกน X ไม่ซ้ำกัน | |
จากความสัมพันธ์ช้างต้น เราเห็นได้ทันทีว่าสมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำ ดังนั้น จากความสัมพันธ์ช้างต้น เราเห็นได้ทันทีว่าสมาชิกตัวหน้าซ้ำกัน ดังนั้น | |
ในกรณีที่ ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเงื่อนไขเราไม่สามารถมองเห็น สมาชิกได้ เราสามารถวาดรูปเพื่อการพิจารณาว่าเป็นฟังก์ชั่นหรือไม่ สามารถวาดกราฟของฟังก์ชั่นได้ดังนี้ ฟังก์ชั่นกำลังสอง | |
เราสามารถ ตรวจสอบการเป็นฟังก์ชั่น ได้โดยการลากเส้น ขนานกับแกน Y - ถ้าตัดกราฟ หนึ่งจุด เป็นฟังก์ชัั่น - ถ้าตัดกราฟ มากกว่า หนึ่งจุด ไม่เป็นฟังก์ชัั่น | |
ดังนั้น จากสมการ เมื่อเราทำการลากเส้นขนานแกน Y เราจะได้ | |
ในทำนองเดียวกัน เมื่อเราพิจารณา วาดกราฟได้ดังนี้ เมื่อนำต้องการดูว่า เป็นฟังก์ชั่นหรือไม่ ทำการลากเส้นขนานแกน Y เราจะได้ จากภาพ ลากเส้นขนานแกน Y แล้วได้จุดตัด มากกว่า 1 จุด ดังนั้น สมการ | |
ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญลักษณ์ กรณีืี่ความสัมพันธ์ r เป็นฟังก์ชั่น เราจะเขียน y = f(x) แทน และเรียก f(x) ว่าเป็นค่า ของฟังก์ชั่น f ที่ x อ่านว่า เอฟที่ เอ็กซ์ หรือ เอฟเอ็กซ์ | |
เรามาดูตัวอย่างของสมการ และกราฟของสมการ ที่เป็นฟังก์ชั่น เพราะมีสมาชิก ตัวหน้า คือพิกัด x ไม่ซ้ำกัน และเมื่อเราลากเส้น ขนานแกน Y ได้จุดตัดกราฟเพียงจุดเดียว 1. ฟังก์ชั่นกำลังสอง | |
2. ฟังก์ชั่นรากที่สอง | |
3. ฟังก์ชั่นกำลังสาม | |
4. ฟังก์ชั่นส่วนกลับ | |
5. ฟังก์ชั่นส่วนกลับกำลังสอง | |
6. ฟังก์ชั่นส่วนกลับกำลังสอง | |
7. ฟังก์ชั่นค่าสัมบูรณ์ | |
ต่อไปเรามาดู ตัวอย่างของฟังก์ชั่น | |
ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ เป็นฟังก์ชั่น จาก X ไป Y หา | |
วิธีทำ เราสามารถหาค่าของฟังก์ชั่นได้ดังต่อไปนี้ จาก | |
ตัวอย่างที่ 2 f(0) , f(5) , f(-2) , f(t) , f( x + 1) , f(t) + 1 , f(x+h) , | |
วิธีทำ เราสามารถหาค่าของฟังก์ชั่นได้ดังต่อไปนี้ จาก |
ฟังก์ชั่น (Functions) เป็นความสัมพันธ์ ชนิดหนึ่ง ที่มีสมาชิกตัวหน้า หรือ พิกัดของแกน X ไม่ซ้ำกัน | |
จากความสัมพันธ์ช้างต้น เราเห็นได้ทันทีว่าสมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำ ดังนั้น จากความสัมพันธ์ช้างต้น เราเห็นได้ทันทีว่าสมาชิกตัวหน้าซ้ำกัน ดังนั้น | |
ในกรณีที่ ความสัมพันธ์อยู่ในรูปเงื่อนไขเราไม่สามารถมองเห็น สมาชิกได้ เราสามารถวาดรูปเพื่อการพิจารณาว่าเป็นฟังก์ชั่นหรือไม่ สามารถวาดกราฟของฟังก์ชั่นได้ดังนี้ ฟังก์ชั่นกำลังสอง | |
เราสามารถ ตรวจสอบการเป็นฟังก์ชั่น ได้โดยการลากเส้น ขนานกับแกน Y - ถ้าตัดกราฟ หนึ่งจุด เป็นฟังก์ชัั่น - ถ้าตัดกราฟ มากกว่า หนึ่งจุด ไม่เป็นฟังก์ชัั่น | |
ดังนั้น จากสมการ เมื่อเราทำการลากเส้นขนานแกน Y เราจะได้ | |
ในทำนองเดียวกัน เมื่อเราพิจารณา วาดกราฟได้ดังนี้ เมื่อนำต้องการดูว่า เป็นฟังก์ชั่นหรือไม่ ทำการลากเส้นขนานแกน Y เราจะได้ จากภาพ ลากเส้นขนานแกน Y แล้วได้จุดตัด มากกว่า 1 จุด ดังนั้น สมการ | |
ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญลักษณ์ กรณีืี่ความสัมพันธ์ r เป็นฟังก์ชั่น เราจะเขียน y = f(x) แทน และเรียก f(x) ว่าเป็นค่า ของฟังก์ชั่น f ที่ x อ่านว่า เอฟที่ เอ็กซ์ หรือ เอฟเอ็กซ์ | |
เรามาดูตัวอย่างของสมการ และกราฟของสมการ ที่เป็นฟังก์ชั่น เพราะมีสมาชิก ตัวหน้า คือพิกัด x ไม่ซ้ำกัน และเมื่อเราลากเส้น ขนานแกน Y ได้จุดตัดกราฟเพียงจุดเดียว 1. ฟังก์ชั่นกำลังสอง | |
2. ฟังก์ชั่นรากที่สอง | |
3. ฟังก์ชั่นกำลังสาม | |
4. ฟังก์ชั่นส่วนกลับ | |
5. ฟังก์ชั่นส่วนกลับกำลังสอง | |
6. ฟังก์ชั่นส่วนกลับกำลังสอง | |
7. ฟังก์ชั่นค่าสัมบูรณ์ | |
ต่อไปเรามาดู ตัวอย่างของฟังก์ชั่น | |
ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ เป็นฟังก์ชั่น จาก X ไป Y หา | |
วิธีทำ เราสามารถหาค่าของฟังก์ชั่นได้ดังต่อไปนี้ จาก | |
ตัวอย่างที่ 2 f(0) , f(5) , f(-2) , f(t) , f( x + 1) , f(t) + 1 , f(x+h) , | |
วิธีทำ เราสามารถหาค่าของฟังก์ชั่นได้ดังต่อไปนี้ จาก |